redstarph.ru

redstarph.ru

Isolation Precaution คือ: Hotel Isolation คือ Mekha News (มีค่านิวส์) : เว็บไซต์ข่าว ที่จะนำเสนอข่าวสารเพื่อรักษาสิทธิให้กับคุณ

การออกกำลังกาย เป็นกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพร่างกายของเราอย่างมาก ช่วยให้ร่างกายของเราแข็งแรง ทั้งยังช่วยให้สุขภาพจิตของเราดีขึ้นอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามการออกกำลังกายนั้น ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ด้วย เช่น สภาพแวดล้อม และสภาพอากาศ โดยเฉพาะคนที่ชื่นชอบการออกกำลังกายกลางแจ้ง ในช่วงฤดูฝนแบบนี้ อาจจะทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้จากหลายปัจจัย 5 ข้อควรระวังในการออกกำลังกายช่วงฤดูฝน เป็นวิธีดูแลตัวเองในการออกกำลังกายช่วงฤดูฝน ที่คุณควรรู้ เพื่อที่จะได้ออกกำลังกายได้ดีไม่เจ็บป่วย หรือเกิดอุบัติเหตุ 5 ข้อควรระวังในการออกกำลังกายช่วงฤดูฝน 1.

Meaning

  • Romantic tarot ราคา chinese
  • Guess smart watch ราคา price
  • ประชุมวิชาการกรมอนามัย ครั้งที่ 14 ดึงภาคีเครือข่ายร่วมเสวนา ‘Quarantine ปลอดภัย มั่นใจอนามัยสิ่งแวดล้อม’ – Thailand Plus Online
  • Logitech meetup ราคา controller
  • รายการสินค้าทั้งหมดของ การ์ดไฟท์!! แวนการ์ด ภาษาไทย
  • Hotel isolation คือ Mekha News (มีค่านิวส์) : เว็บไซต์ข่าว ที่จะนำเสนอข่าวสารเพื่อรักษาสิทธิให้กับคุณ
  • สก น นคร
  • Isolation precaution คือ test
  • รับทำเบาะรถยนต์แบบถาวร หัวเกียร์ - รถทูยู
  • Isolation precaution คือ example
  • Isolation precaution คือ video
  • รับ งาน ปราจีน 304

การแยกผู้ป่วย (Isolation)

isolation precaution คือ test

รองเท้า ที่ใช้สำหรับห้องนั้นๆ โดยเฉพาะ 7. กรรมวิธีทำลายเชื้อ สิ่งปฏิกูล, สิ่งขับถ่าย, หนอง ฯลฯ ที่เหมาะสม การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค (Precaution against spread of pathogenic organism) วิธีการป้องกันโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่สำคัญประการหนึ่งคือ การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่อาจจะถูกนำหรือพาจากผู้ป่วย หรือแหล่งเชื้ออื่นๆ ไปสู่ผู้ป่วยอีกรายหนึ่ง การป้องกันนี้รวมถึงการปฏิบัติตนของบุคลากรทางการแพทย์, วิธีการเก็บและการทำลายสิ่ง ที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนอยู่ เพื่อให้ง่ายในทางปฏิบัติจึงแบ่งวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคเป็น 4 อย่าง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก. การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่อยู่ในนํ้ามูก, นํ้าลาย (Oral secretion precaution) มีวิธีการดังนี้ 1. เวลาผู้ป่วยไอหรือจาม ให้ใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือกระดาษเช็ดหน้าปิดปากปิดจมูกก่อนเสร็จแล้วทิ้งผ้าหรือกระดาษนั้นลงในถุงพลาสติคเพื่อทำลายเชื้อต่อไป 2. ถ้ามีผู้ที่ติดโรคได้เข้าใกล้ผู้ป่วย หรือจะขนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องแยก ควรให้ผู้ป่วยผูกผ้าปิดปาก-จมูก ตลอดระยะเวลานั้น ข. การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคธรรมดาในนํ้าหนอง (Standard exudate precaution) ขณะที่ทำแผล 1.

Examples

ก าหนดแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โดยการแยกผู้ป่วย (Isolation Precautions) และเผยแพร่สื่อสารให้บุคลากรทุกระดับรับทราบ เข้าใจและปฏิบัติได้ 2. ให้ความรู้แก่บุคลากรทุกระดับ เกี่ยวกับหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่ส าคัญ ได้แก่ standard และ transmission-based precautions (contact, droplet, และ airborne precautions) โดย หลักการส าคัญของการแยกผู้ป่วยคือ 2. 1 การป้องกันแบบมาตรฐานส าหรับการดูแลผู้ป่วยทุกราย (standard precautions) คือ มาตรการที่บุคลากรปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยทุกราย โดยถือว่าผู้ป่วยทุกรายอาจเป็น พาหะของโรคโดยไม่ค านึงถึงการวินิจฉัยของโรคหรือภาวะติดเชื้อของผู้ป่วย มาตรการนี้ ใช้เมื่อบุคลากรปฏิบัติงานที่คาดว่าอาจจะต้องสัมผัสกับเลือด สารคัดหลั่ง แผล การปฏิบัติ ที่ส าคัญ คือ การท าความสะอาดมือ การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตาที่ ออกแบบเพื่อป้องกันเลือดหรือสารคัดหลั่งกระเด็นเข้าตาได้ นอกจากนี้ ในการดูแล ผู้ป่วยที่มีอาการไอหรือสงสัยว่าจะมีโรคติดเชื้อระบบหายใจ ก็ให้ปฏิบัติตามหลักการของ respiratory hygiene and cough etiquette 2.

การใช้ห้องแยกผิดประเภทเนื่องจากการออกแบบอาคารไม่ถูกต้อง มีการใช้ห้องแยกที่ไม่ได้ ควบคุมความดันบรรยากาศและทิศทางการไหลของอากาศ ส าหรับผู้ป่วยวัณโรค และผู้ป่วย ภูมิต้านทานต ่า ซึ่งส่งผลให้เชื้อวัณโรคแพร่กระจายได้ง่ายในกรณีแรก และผู้ป่วยภูมิ ต้านทานต ่าติดเชื้อได้ง่ายในกรณีหลัง เพราะการระบายอากาศที่จ ากัดและไม่เหมาะสม นอกจากนี้ยังใช้ห้องแยกนี้ส าหรับผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อยาหลายขนาน (Multidrug-resistant organisms) อีกด้วยซึ่งหากผู้ป่วยรายต่อไปเป็นผู้ที่มีภูมิต้านทานต ่า จะกลายเป็นความเสี่ยง ทันที 2. ปัญหาการสื่อสารของผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วย และญาติ ให้ตระหนักในปัญหาการติดเชื้อใน โรงพยาบาลและการมีส่วนร่วมใน isolation precautions และการใช้ personal protective equipment 3. การสนับสนุนผู้ปฏิบัติและการจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและเครื่องมือแพทย์ ให้เพียงพอ 4. ปัญหาทางด้านกฏหมายเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถน ามาประยุกต์ใช้โดยเฉพาะเกี่ยวกับการ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค ความปลอดภัยของผู้ป่วย บุคลากร ญาติ และค่าใช้จ่าย 5. บุคลากรขาดความรู้เกี่ยวกับหนทางการแพร่กระจายเชื้อของโรค หรือเชื้อต่างๆ ขาดความรู้ ที่ถูกต้องในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 6.

Worksheet

ล้างมือก่อนทำแผล 2. ใช้เครื่องมือปลอดเชื้อ 3. เวลาทำแผลใช้เครื่องมือหยิบจับ อย่าใช้มือจับโดยตรง 4. ผ้าปิดแผลที่เปื้อนให้ทิ้งลงในถุงพลาสติคสองชั้น 5. เสร็จแล้วล้างมืออีกครั้ง ค. การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคอันตรายหรือดื้อยาในน้ำหนอง (Special exudate precaution) ขณะที่ทำแผล 1. ล้างมือก่อน 2. สวมเสื้อคลุม และผูก mask 3. ใช้เครื่องมือที่ปลอดเชื้อ 4. สวมถุงมือชุดแรกเวลาเอาผ้าพันแผลที่สกปรกออก, ทำความสะอาดแผล และสวมถุงมือชุดที่สองเพื่อปิดแผลด้วยผ้าพันแผลที่สะอาด 5. ใช้เครื่องมือหยิบจับขณะทำแผล อย่าใช้มือจับโดยตรง 6. ทิ้งผ้าปิดแผลที่สกปรกในถุงพลาสติคสองชั้น 7. เสร็จแล้วถอดถุงมือ ล้างมือให้สะอาด 8. ถ้าจะขนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้อง ปิดแผลให้มิดชิด และใช้ผ้าปลอดเชื้อคลุมทับอีกชั้น ง. การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคในอุจจาระ, ปัสสาวะ (Excretion precaution) 1. ล้างมือทุกครั้งหลังจากถูกต้องผู้ป่วย 2. สวมถุงมือก่อนหยิบจับกระบอกปัสสาวะ, กระโถน 3. อาหารที่ผู้ป่วยรับประทานไม่หมดให้ห่อให้มิดชิด แลวทิ้งลงถุงพลาสติคที่มิดชิด 4. จาน ชาม ช้อน และของใช้อื่นๆ อาจจะมีเชื้อโรคปนเปื้อนอยู่ ผู้ที่ล้างสิ่งเหล่านี้ ต้องสวมถุงมือก่อน และล้างมือให้สะอาดอีกครั้งหลังจากถอดถุงมือแล้ว การแยกผู้ป่วย (Isolation of patient) ก.

ห้องสำหรับแยกผู้ป่วย เป็นห้องที่มิดชิด ถ้าเป็นห้องปรับอากาศได้ยิ่งดี นอกจากนี้ ถ้าสามารถปรับความดันในห้องได้ก็จะมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เช่นห้องที่ใช้แยกผู้ป่วยที่มีเชื้อโรค ติดต่อผู้อื่นได้ ในห้องควรมีความดันตํ่า เวลาเปิดประตูจะดูดอากาศข้างนอกเข้าไปและอากาศ ข้างในไม่ออกมาข้างนอก ส่วนห้องที่ใช้แยกผู้ป่วยติดโรคง่าย ควรจะมีความดันในห้องสูง เวลาเปิดประตู อากาศในห้องจะออกและอากาศนอกห้องไม่สามารถพัดเข้าในห้องได้เป็นต้น นอกจากนี้ในห้องควรจะมีอ่างล้างมือสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และญาติ, เสื้อคลุม, ภาชนะใส่เสื้อคลุม, หมวก ฯลฯ ที่ใช้แล้ว อย่างพร้อมมูลด้วย รายละเอียดจะไม่ขอกล่าวในที่นี้ 2. เสื้อคลุมสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ญาติ เป็นเสื้อคลุมแขนยาว ถ้าเป็นไปได้ควรได้รับการซัก รีดทำความสะอาดแล้ว และเมื่อใส่แต่ละครั้งแล้วก็ส่งทำความสะอาดก่อนนำมาใช้อีก ส่วนเสื้อกระดาษที่ใช้แล้วทิ้งมีราคาแพงไม่เหมาะสำหรับประเทศไทย 3. หมวกคลุมศีรษะ แบบเดียวกับที่ใช้ในห้องผ่าตัด 4. ผ้าปิดปาก-จมูก อาจจะเป็นผ้าเมื่อใช้แล้วนำไปทำความสะอาดก่อนนำมาใช้อีก หรือแบบใช้แล้วทิ้งเลย เป็นต้น 5. ถุงมือ สำหรับประเทศไทยควรใช้แบบที่นำไปทำความสะอาดใหม่ได้ เพื่อเป็นการประหยัด 6.

Example

isolation precaution คือ meme

ทางอากาศ ที่เชื้อนั้นสามารถแพร่กระจายทางละอองฝอยขนาดเล็กมาก < 5 ไมครอน การป้องกันผ่านกลไกนี้เรียกว่า Airborne precautions 2. ทางละอองฝอย ที่เชื้อนั้นสามารถแพร่กระจายทางละอองฝอย ขนาด >= 5 ไมครอน ขนาดใหญ่ขึ้นมากกว่าทางอากาศ เรียกว่า Droplet precautions 3. ทางการสัมผัส ที่เชื้อนั้นสามารถติดต่อได้ง่ายแม้สัมผัสโดนตัว หรือสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย เรียกว่า Contact precautions หลักการทาง 3 นั้น จะต้องรู้ว่าผู้ป่วยมีกลไกการแพร่กระจายเชื้อแบบใด และสามารถใช้ร่วมกันได้ ไม่เฉพาะเจาะจงหลักการใดหลักการหนึ่ง เช่น Droplet และ Airborne จะใช้ Contact precautions มาร่วมด้วยได้ เนื่องจากการสัมผัสละอองฝอยทุก ๆ ขนาด ก็สามารถนำพามาซึึ่งเชื้อโรคได้เช่นกัน

บริเวณหอผู้ป่วยคับแคบ ผู้ป่วยแออัด ไม่สามารถจัดบริเวณส าหรับผู้ป่วยติดเชื้อเป็นสัดส่วน โดยเฉพาะ มาตรฐาน HA การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4 ตอนที่ II หมวดที่ 4 ข้อ 4. 2 ก. การป้องกันการติดเชื้อทั่วไป (1)

3 มาตรการส าหรับการดูแลผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อที่ แพร่กระจายทางอากาศ (Airborne precautions) ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่า ติดเชื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อที่สามารถแพร่กระจายเชื้อได้ทางละอองฝอยของน ้ามูก น ้าลายในอากาศ ซึ่งมีอนุภาคขนาดเล็กเท่ากับหรือน้อยกว่า 5 ไมครอน เช่น วัณโรค ซึ่ง โรงพยาบาลควรจัดพื้นที่ส าหรับผู้ป่วยเหล่านี้ให้เหมาะสม มีอากาศถ่ายเทสะดวก หรือ อยู่ในห้อง infection isolation room ที่มีการควบคุมให้มีความดันบรรยากาศเป็นลบ บุคลากรต้องสวม N-95 เมื่อเข้าไปให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย และให้ผู้ป่วยสวม surgical mask ไว้ตลอดเวลา 2. 4 มาตรการดูแลผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อที่แพร่กระจายทางฝอย ละอองขนาดใหญ่ (Droplet precautions) ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยติดเชื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อที่ สามารถแพร่กระจายเชื้อได้ทางละอองน ้ามูกหรือน ้าลายซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน เช่น ไข้หวัด ไข้กาฬหลังแอ่น (meningococcemia) บุคลากรต้องสวมหน้ากากอนามัย และท าความสะอาดมืออย่างถูกต้องในกระบวนการรักษาพยาบาลผู้ป่วย 3.

Wed, 06 Jul 2022 19:02:23 +0000